Record Details

การใช้ประโยชน์สารลดแรงตึงผิวในการบำบัดน้ำเสีย The Use of Surfactant in Wastewater Treatment

Journal of Environmental Management

View Archive Info
 
 
Field Value
 
Title การใช้ประโยชน์สารลดแรงตึงผิวในการบำบัดน้ำเสีย The Use of Surfactant in Wastewater Treatment
 
Creator วิสาขา ภู่จินดา, Wisakha Phoochinda
 
Description สารลดแรงตึงผิวมีบทบาทที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในแต่ละวันมนุษย์ใช้สารลดแรงตึงผิวแทบทุกกิจกรรม เช่น การทำความสะอาดร่างกายและของใช้  การใช้เครื่องสำอาง   การย่อยอาหาร  กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม เป็นต้น นอกจากนี้สารลดแรงตึงผิวก็มีบทบาทที่สำคัญในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย ในการกำจัดคราบน้ำมันและสิ่งสกปรก  ในการกำจัดสารแขวนลอยหรือคลอรอยด์ในน้ำ  การเลือกประเภทของสารลดแรงตึงผิว ปริมาณหรือความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว รวมถึงสภาวะอื่นๆให้เหมาะสมกับวัตถุ ประสงค์ของการใช้งานต่างๆเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อทำให้สารลดแรงตึงผิวทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและไม่สร้างปัญหาเพิ่มให้กับสิ่งแวดล้อม  สารลดแรงตึงผิวส่วนใหญ่จะสามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ ทั้งนี้ความสามารถในการถูกย่อยสลายจะขึ้นกับโครงสร้างของสารลดแรงตึงผิว รวมทั้งปริมาณของสารลดแรงตึงผิวที่เหลืออยู่จากการใช้  การใช้สารลดแรงตึงผิวในปริมาณที่เหมาะสม นอกจากจะช่วยลดต้นทุนการบำบัดแล้วยังมีส่วนช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในน้ำดื่มปริมาณสารลดแรงตึงผิวที่สามารถเจือปนได้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายเท่ากับ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร การศึกษาและการพัฒนาการนำสารลดแรงตึงผิวมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ให้มากขึ้นโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งในอนาคตSurfactant is a chemical substance composed of two parts: hydrophobic and hydrophilic groups. It plays a significant role in everyday life for instance, it is widely used in a cleaning purpose and in many industries such as cosmetic and painting. Moreover, it is applicable to use surfactants for solving environmental problems such as wastewater treatment, separation of oil and dirt and separation of colloids for water. A selection of surfactant suitable for specific purposes is very crucial. This involves types and concentrations of surfactants and also optimal conditions. Generally surfactant can be naturally degraded and the difficulty of the degradation is dependent upon the structure and concentrations of surfactants remaining after uses. In potable water surfactants are currently limited to a maximum admissible concentration of 0.5 mg/l. The use of surfactant with optimal conditions can help to decrease a capital cost as well as environmental problems. In the future, the use of surfactant for any other environmental purposes such as an adsorption of waste and the removal of toxic from soil could be of interest.
 
Publisher วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)
 
Date 2012-01-18
 
Type info:eu-repo/semantics/article
info:eu-repo/semantics/publishedVersion

 
Format application/pdf
 
Identifier http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/32003
 
Source วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM); Vol 1, No 1 (2004)
1906-5485
 
Relation http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/32003/27380
 
Rights Copyright (c) 2016 วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)