Record Details

กองทุนชราภาพในระบบกองทุนประกันสังคมไทย: บทวิเคราะห์ความยั่งยืนและความเป็นธรรมระหว่างรุ่นอายุ

Applied Economics Journal

View Archive Info
 
 
Field Value
 
Title กองทุนชราภาพในระบบกองทุนประกันสังคมไทย: บทวิเคราะห์ความยั่งยืนและความเป็นธรรมระหว่างรุ่นอายุ
 
Creator Phijaisanit, Euamporn
 
Description บทคัดย่อ บทความนี้นำเสนอข้อค้นพบเชิงวิชาการถึงความไม่ยั่งยืนของกองทุนชราภาพ ภายใต้อัตราเงินสมทบและอัตราผลประโยชน์บำนาญที่เป็นอยู่ในระบบกองทุนประกันสังคมของประเทศไทย การวิเคราะห์ใช้คณิตศาสตร์ประกันภัยและวิธีผสมในการฉายภาพ ความไม่เป็นธรรมเกิดขึ้นในรูปความเสี่ยงของผู้ประกันตนรุ่นหลังที่อาจจะไม่ได้รับเงินบำนาญอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยตามกำหนดเวลา กองทุนฯ จะเริ่มมีการใช้เงินสะสมในปี พ.ศ. 2573 ดังนั้นหนี้สินสุทธิของกองทุนจะเริ่มก่อตัวขึ้นนับตั้งแต่ปีดังกล่าว และเงินกองทุนฯ จะถูกใช้หมดในปี พ.ศ. 2582 ในระยะสั้นมีข้อเสนอว่า กองทุนประกันสังคมควรพิจารณากำหนดอัตราเงินสมทบและผลประโยชน์ทดแทนที่เหมาะสมโดยยึดหลักทฤษฎีระบบการเงินประกันสังคม พร้อมกับแจ้งให้ผู้ประกันตนทราบชัดเจนถึงอัตราที่จะปรับเป็นขั้นบันไดตลอดช่วงระยะเวลาการทำงาน ในระยะยาวเสนอว่า หากการปรับกฎเกณฑ์ไม่สามารถเป็นไปตามทฤษฎีและโครงสร้างประชากรมีจำนวนคนทำงานไม่พอที่จะเลี้ยงคนเกษียณ กรณีนี้ก็ควรมีการทบทวนรูปแบบโครงการบำนาญในระบบประกันสังคมไทยเสียใหม่ให้เหมาะสมกับโครงสร้างอายุแรงงานไทยและบริบทของสังคมไทย คำสำคัญ : ระบบประกันสังคม, นโยบายสวัสดิการสังคม, ความเป็นธรรมระหว่างรุ่นอายุ   Abstract This paper portrays the non-sustainability of the Thai Social Security Pension Fund. Actuarial mathematics and mixed methods are used in the analysis. Inequity across generations arises from the risks encountered by the later generations of not being fullyobtaining their old-age benefits. The results indicate that in 2030 there will be a net expenditure of cumulative reserves; and hence, net liabilities will start to accumulate from that year. All of the fund reserves will be depleted in 2039. In the short run, the research suggests reconsidering the rates of contributions and benefits. Meanwhile the contributors should be informed about the rates that they would have to pay and would receive throughout their work-age periods. In the long run, the research suggests reconsidering some other possible options for restructuring the Fund to be more in line with the demographic structure of the Thai labour force and Thai society. Keywords : social security system, welfare policy, intergenerational fairness JEL Classification : H55, I31, I38, J78
 
Publisher The Center for Applied Economics Research (CAER)
 
Date 2013-07-25
 
Type info:eu-repo/semantics/article
info:eu-repo/semantics/publishedVersion
Peer-reviewed Article
 
Format application/pdf
 
Identifier https://tci-thaijo.org/index.php/AEJ/article/view/10393
 
Source Applied Economics Journal; Vol 18 No 2 (2011): December; 32-44
วารสารเศรษฐศาสตร์ประยุกต์; Vol 18 No 2 (2011): December; 32-44
2586-9132
2586-9124
 
Language eng
 
Relation https://tci-thaijo.org/index.php/AEJ/article/view/10393/9399
 
Rights Copyright (c) 2014 Applied Economics Journal
http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0