Record Details

มูลค่าความเสี่ยงของชีวิตประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่ม

Applied Economics Journal

View Archive Info
 
 
Field Value
 
Title มูลค่าความเสี่ยงของชีวิตประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่ม
 
Creator Untong, Akarapong
 
Description บทคัดย่อบทความนี้ประเมินมูลค่าความเสี่ยงจากการสูญเสียชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มในพื้นที่จังหวัดน่าน เชียงใหม่ และเชียงราย โดยประยุกต์วิธีการประเมินมูลค่าของชีวิตเชิงสถิติ ผลการศึกษาพบว่า มูลค่าของชีวิตเชิงสถิติของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวคิดได้เฉลี่ย 0.67-4.67 ล้านบาทต่อคน ประชาชนเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย 118-123 บาทต่อคนต่อปี ทั้งนี้ประชาชนเห็นว่าการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยจะสามารถลดความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตได้ มูลค่าของชีวิตเชิงสถิติที่คำนวณได้เป็นมูลค่าขั้นต่ำของความเสี่ยงของชีวิตประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าไหลหลากและและดินโคลนถล่มภายใต้สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบันของบุคคล จึงไม่ใช่มูลค่าของชีวิตทั้งหมดของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตดังกล่าว การศึกษานี้น่าจะมีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการประเมินมูลค่าความเสี่ยง ซึ่งจะให้ข้อมูลสำคัญที่สามารถนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจดำเนินมาตรการหรือโครงการต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตประชาชน คำสำคัญ : มูลค่าของชีวิตเชิงสถิติ, น้ำป่าไหลหลาก, ดินโคลนถล่ม, แบบจำลองทางเลือก AbstractThis study estimates the value of risk of life’s loss of people who live in flood- and landsideprone areas in Nan, Chiang Mai and Chiang Rai. The methodology used is the value of statistical life (VSL). The results show that the value of statistical life of people living in these areas averages 0.67-4.67 million baht per person. People’s willingness to pay for an early warning system amounts to 118-123 baht per person per year. This amount is based on the person’s belief that early warning can reduce the risk of life’s loss. The value of statistical life in this study indicates a minimum value of risk of life’s loss in flood- and landside-prone areas under the current economic and socialstatus of a person and thus this is not the total value of a person who lives in the area. The study might steer the interest in using the technique to provide useful information as to base policy decision on measures or projects that affect health and life.Keywords : value of statistical life, flood, landslide, choice modeling
 
Publisher The Center for Applied Economics Research (CAER)
 
Date 2013-07-26
 
Type info:eu-repo/semantics/article
info:eu-repo/semantics/publishedVersion
Peer-reviewed Article
 
Format application/pdf
 
Identifier http://tci-thaijo.org/index.php/AEJ/article/view/10480
 
Source Applied Economics Journal; Vol 17 No 1 (2010): June; 113-131
2586-9132
2586-9124
 
Language eng
 
Relation http://tci-thaijo.org/index.php/AEJ/article/view/10480/9480
 
Rights Copyright (c) 2014 Applied Economics Journal
http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0