Record Details

การจัดการมลพิษทางน้ำโดยวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชน ในพื้นที่ลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน Community Water Pollution Management Using a Participative Approach in the Pai Watershed, Mae Hong Son

Journal of Environmental Management

View Archive Info
 
 
Field Value
 
Title การจัดการมลพิษทางน้ำโดยวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชน ในพื้นที่ลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน Community Water Pollution Management Using a Participative Approach in the Pai Watershed, Mae Hong Son
 
Creator อโนดาษ์ รัชเวทย์, Anodar Ratchawet; Chiangmai Rajabhat University
สุรศักดิ์ นุ่มมีศรี, Surasak Noommeesri
 
Description การวิจัยเรื่อง การจัดการมลพิษทางน้ำโดยวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์หลักคือ การสร้างรูปแบบการจัดการมลพิษทางน้ำที่เหมาะสมกับพื้นที่โดยชุมชนสามารถดำเนินการได้เอง พบว่า ปัญหามลพิษของแหล่งน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปายที่เป็นปัญหามากที่สุด ได้แก่ น้ำในแหล่งน้ำมีตะกอนขุ่นมาก       ในส่วนของรูปแบบในการแก้ปัญหามลพิษทางน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปาย ซึ่งสามารถนำมาปฏิบัติได้จริงในชุมชน ประกอบด้วย การร่วมกันสังเคราะห์และวิเคราะห์ปัญหาทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำปาย การสำรวจและตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ สร้างความตระหนักและความรู้ให้กับประชาชนและเยาวชน การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำถังดักไขมัน ซึ่งสามารถลดน้ำเสียที่มีไขมันที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะได้อย่างน้อยวันละ 500 ลิตร จากถังดักไขมันที่ทำขึ้น 25 ถัง การทำฝายชะลอน้ำและตะกอน จำนวน 5 ฝาย การทำแนวป้องกันไฟป่าและการปลูกหญ้าแฝก เพื่อลดการพังทลายของดิน รวมทั้งการสร้างเครือข่ายกลุ่มเยาวชนและประชาชนโดยมีเครือข่ายเยาวชนเกิดขึ้นจากโรงเรียนในพื้นที่จำนวน 6 โรงเรียน ผลจากการดำเนินการกิจกรรมตามรูปแบบดังกล่าวทำให้ประชาชนและเยาวชนมีความรู้และความตระหนักในการจัดการทรัพยากรน้ำมากขึ้นThis research has the main objective to establish an optimal pattern of community water pollution management in the Pai watershed area using the Participatory Action Research (PAR) approach.  The results showed that the important problem concerning the water in the Pai watershed was the sediment which created turbidity in the river. The pattern for solving these water pollution problems in the Pai Watershed area which was proper and lead to action in this community was first, motivating the people in the community to realize the problems in their own community. Then, people in the community participated in designing a pattern for solving their problems by cooperating with researchers, surveying and analyzing the quality of the water, building consciousness and knowledge on the part of the teenagers and people in the community.  Activities include training in the construction of a grease trap tank (from the construction of 25 grease trap tanks which could reduce the water pollutants at 500 liters per day), constructing 5 dams to reduce the water irrigation, setting up fire protection line area for the protection of the forest, growing vetiver grass in the area for the protection of the soil against erosion, especially in the area near the river bank of the Pai watershed area, and finally gathering the environmental conservation group of teenagers from 6 schools.
 
Publisher วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)
 
Contributor
 
Date 2015-06-30
 
Type info:eu-repo/semantics/article
info:eu-repo/semantics/publishedVersion

 
Format application/pdf
 
Identifier http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/31975
10.14456/jem.2015.2
 
Source วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM); Vol 11, No 1 (2015); 20-37
1906-5485
 
Relation http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/31975/29720
 
Rights Copyright (c) 2016 วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)