Record Details

การใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสำหรับการผลิตถั่วเหลือง/The Use of Bio-extracted Water from Stemona Herb for Fertilizer in Soybean Production

Journal of Environmental Management

View Archive Info
 
 
Field Value
 
Title การใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสำหรับการผลิตถั่วเหลือง/The Use of Bio-extracted Water from Stemona Herb for Fertilizer in Soybean Production
 
Creator นงค์นภา เกลี้ยงเกลา, Nongnapa Klaiengklao
ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, Tawadchai Suppadit
ละอองดาว แสงหล้า, Laongdown Sangla
สมพจน์ กรรณนุช, Sompote Kunnoot
 
Description งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็น ปุ๋ยสำหรับการ ผลิตถั่วเหลือง โดยได้ทำการศึกษาและเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิต ของถั่วเหลือง รวมถึงศึกษาลักษณะสมบัติทางเคมี ปริมาณธาตุอาหาร และการสะสมโลหะหนักในดิน  ได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม และปรอท วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ หน่วยการทดลองใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 1.00:1,000, 2.00:1,000, 3.00:1,000 และ  4.00:1,000 น้ำสกัดชีวภาพอีเอ็มต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน  1.00:1,000  ปุ๋ยเคมีสูตร  12.0-24.0- 12.0 ปริมาณ 10.0 กรัม พบว่า น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน  2.00:1,000 ส่งผลให้ถั่วเหลืองมีแนวโน้มการเจริญเติบโตในส่วนของน้ำหนักแห้งของฝัก น้ำหนักแห้งรวม ผลผลิต จำนวนฝักต่อต้น  น้ำหนักเมล็ด  และปริมาณโปรตีนในเมล็ดมากกว่าหน่วยการทดลองอื่นๆ รวมถึงมี ระยะการเจริญเติบโตทางการแพร่ขยายพันธุ์ที่ยาวกว่าปุ๋ยเคมี ส่วนความสูง จำนวนข้อ และพื้นที่ใบ นั้น ปุ๋ยเคมีมีค่าสูงกว่าเล็กน้อยThe  objective  of  this  study  was  to  find  out  the  use  of  bio-extracted  water  from  Stemona herb as a fertilizer in soybean production.  The effectiveness was determined in  terms  of  plant  growth,  yield,  and  yield  component,  including  nutrients  in  soil  and  heavy  metals  contaminated  in  soil,  i.e.,  lead,  cadmium  and  mercury.  The experimental design was a completely randomized design which divided into 7 treatments with 4 replications for each treatment. The bio-extracted water from Stemona herb and water were  mixed at  ratios of 1.00:1,000, 2.00:1,000, 3.00:1,000 and 4.00:1,000, the bio–extracted water from  effective microorganisms, chemical fertilizer formula 12.0-24.0-12.0 at the rate of 10 grams/ pots, and the control group. The results showed that the bio-extracted water from Stemona herb mixed with water at the ratio of 2.00:1,000 gave the highest growth rate of soybean in terms of pod dry matter, total dry matter, yield, number of pods per plant, seed weight, and protein in seeds.  In  addition,  the reproductive growth period  of  the  plant  at  the  ratio   of  2.00:1,000  is  longer than  that  of  chemical treatment.  However, the plant height, node number, and leaf area were higher when chemical fertilizer was applied.
 
Publisher วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)
 
Contributor
 
Date 2015-01-06
 
Type info:eu-repo/semantics/article
info:eu-repo/semantics/publishedVersion

 
Format application/pdf
 
Identifier http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/29104
 
Source วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM); Vol 5, No 2 (2009)
1906-5485
 
Relation http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/29104/25011
 
Rights Copyright (c) 2016 วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)