มาตรฐาน “ส้วมสาธารณะ” ปัจจัยส่งเสริมการท่องเที่ยว Standards of Public Toilets as an Essential Factor to Promote Tourism
Journal of Environmental Management
View Archive InfoField | Value | |
Title |
มาตรฐาน “ส้วมสาธารณะ” ปัจจัยส่งเสริมการท่องเที่ยว Standards of Public Toilets as an Essential Factor to Promote Tourism
|
|
Creator |
ทัศนาวดี ไพโรจน์บริบูรณ์, Tatsanawalai Pairodborepoon
|
|
Description |
ส้วมสาธารณะเป็นโครงสร้างพื้นฐานเชิงบริการในมุมมองของสิทธิมนุษยชนที่รัฐพึงจัดหาให้บริการแก่ประชาชนตามวิถีชีวิตที่ต้องออกจากบ้านไม่ว่าจะเป็นการเดินทางไปทำงานหรือท่องเที่ยว คุณภาพของส้วมสาธารณะมีความแตกต่างแปรผันตามความเจริญของชุมชนจึงเป็นดัชนีชี้วัดความศิวิไลซ์ของสังคมได้ประการหนึ่งปัจจุบัน ส้วมสาธารณะได้รับความสำคัญมากขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อรองรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เจริญเติบโตจนเป็นแหล่งรายได้สำคัญของประเทศต่าง ๆ ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา โดยมีความเคลื่อนไหวที่มุ่งพัฒนาส้วมสาธารณะทั้งในทางกายภาพและการบริการและกลายเป็นจุดแข่งขันของสถานประกอบการหลายแห่งในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และหลายประเทศได้ให้ความสำคัญต่อส้วมสาธารณะจนกำหนดเป็นนโยบายระดับชาติ เช่น ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น ประเทศในประชาคมยุโรป สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ มาเลเซีย และประเทศไทย เป็นต้น พัฒนาการเกี่ยวกับส้วมสาธารณะมีความเคลื่อนไหวสู่แนวทางที่เป็นมาตรฐานสากลและเปิดเผยต่อสาธารณะมากขึ้นเมื่อมีการจัดตั้งองค์การส้วมโลก (the World Toilet Organization ;WTO) ขึ้นซึ่งได้ส่งเสริมให้องค์กรต่าง ๆ ในหลายประเทศพัฒนาแนวทางและเกณฑ์มาตรฐานการออกแบบส้วมสาธารณะมากขึ้น แนวทางและมาตรฐานการออกแบบดังกล่าวของสิงคโปร์ มาเลเซีย สหราชอาณาจักร และส้วมฯในท่าอากาศยานของสหรัฐอเมริกา ได้ถูกวิเคราะห์เพื่อประมวลรายละเอียดและนำเสนอเป็นแนวทางสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศไทยThe public toilet is considered to be an important infrastructure and a human right in the service sector which has to be provided by the government. The quality of public toilets is different from place to place according to the degree of development in the community, and it is therefore one of the indicators of civilization. The public toilet has been given priority in both developed and developing countries in recent years, especially in terms of serving tourism and in becoming a competitive corner. Many countries designate this issue as one of their national policies, such as Australia, Japan, the European Community,Singapore, Malaysia and Thailand. The physical and service development of public toilets has moved toward international standardization and the issue has become of greater interest to the public since the World Toilet Organization (WTO) was established. The WTO’s activities have encouraged a number of guidelines and standards for public toilet design. The design criteria of manyorganizations are reviewed to demonstrate a guideline development as a model for public toilets in Thailand’s tourism.
|
|
Publisher |
วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)
|
|
Date |
2012-01-10
|
|
Type |
info:eu-repo/semantics/article
info:eu-repo/semantics/publishedVersion — |
|
Format |
application/pdf
|
|
Identifier |
http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/31992
|
|
Source |
วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM); Vol 3, No 2 (2007)
1906-5485 |
|
Relation |
http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/31992/27369
|
|
Rights |
Copyright (c) 2016 วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม Journal of Environmental Management (JEM)
— |
|